วันจันทร์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ

📕ศูนย์หนังสือเตรียมสอบงานราชการ ทุกหน่วยงาน
เนื้อหาออกตามประกาศของหน่วยงาน 
รวมทั้งข้อสอบเก่าและอัพเดทปรับปรุงเป็นปัจจุบัน
รวบรวมไว้ทั้งวิชาทั่วไปและวิชาเฉพาะตำแหน่ง
ไว้ในเล่มเดียว ตรงถึง 70-80% 👍👍👍
💼ความสำเร็จของลูกค้า
http://www.topsheetonline.com/webboard/viewtopic/75

📲 : 090-8134236
📱add line : http://line.me/ti/p/N6s60cl1P9

จำหน่ายหนังสือเตรียมสอบสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
ประกอบด้วยเนื้อหาตามประกาศสอบ 








ผลงานลูกค้า

เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetbook เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน

















 
1
2
3
4
5
6
7
8
 

ติดตาม Facebook

ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบสถาบันนิติวิทยาศาสตร์




รายละเอียดวิชาที่สอบ #
แนวข้อสอบสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
นักจัดการงานทั่วไป สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนิติวิทยาศาสตร์
2 ความรู้เกี่ยวกับงานสารบรรณและธุรการทั่วไป
3 การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป
4 ความรู้เกี่ยวกับการเขียนหนังสือหนังสือราชการและโต้ตอบเอกสาร
5 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
6 สรุปสาระสำคัญระเบียบงานสารบรรณ (สูตรและเทคนิคการจำ)
7 แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ
8 แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป
9 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์

📕ศูนย์หนังสือเตรียมสอบงานราชการ ทุกหน่วยงาน
เนื้อหาออกตามประกาศของหน่วยงาน 
รวมทั้งข้อสอบเก่าและอัพเดทปรับปรุงเป็นปัจจุบัน
รวบรวมไว้ทั้งวิชาทั่วไปและวิชาเฉพาะตำแหน่ง
ไว้ในเล่มเดียว ตรงถึง 70-80% 👍👍👍
💼ความสำเร็จของลูกค้า
http://www.topsheetonline.com/webboard/viewtopic/75

📲 : 090-8134236
📱add line : http://line.me/ti/p/N6s60cl1P9


แนวข้อสอบ



📕ศูนย์หนังสือเตรียมสอบงานราชการ ทุกหน่วยงาน
เนื้อหาออกตามประกาศของหน่วยงาน
รวมทั้งข้อสอบเก่าและอัพเดทปรับปรุงเป็นปัจจุบัน
รวบรวมไว้ทั้งวิชาทั่วไปและวิชาเฉพาะตำแหน่ง
ไว้ในเล่มเดียว ตรงถึง 70-80% 👍👍👍
💼ความสำเร็จของลูกค้า
http://www.topsheetonline.com/webboard/viewtopic/75
📲 : 090-8134236
📱add line : http://line.me/ti/p/N6s60cl1P9


แนวข้อสอบ นักจัดการงานทั่วไป สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนิติวิทยาศาสตร์
2 ความรู้เกี่ยวกับงานสารบรรณและธุรการทั่วไป
3 การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป
4 ความรู้เกี่ยวกับการเขียนหนังสือหนังสือราชการและโต้ตอบเอกสาร
5 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
6 สรุปสาระสำคัญระเบียบงานสารบรรณ (สูตรและเทคนิคการจำ)
7 แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ
8 แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป
9 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์

แนวข้อสอบเข้าเรียนนิติวิทยาศาสตร์
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนิติวิทยาศาสตร์
2 ความรู้เรื่องการพิสูจน์หลักฐาน
3 แนวข้อสอบการพิสูจน์หลักฐาน
4 โครงสร้างของบทสนทนา Conversations
5 การใช้ภาษาที่ถูกต้องและการเขียนหนังสือราชการภาษาอังกฤษ
6 โครงสร้างประโยค (Sentence Structure)
7 วิธีจำคำศัพท์และการเดาคำศัพท์ภาษาอังกฤษ Vocabulary
8 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Conversation
9 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Grammar
10 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ การใช้ Reading

แนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนิติวิทยาศาสตร์
2 แนวข้อสอบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ office
3 เชาวน์ปัญญาและความถนัด Aptitude
4 แนวข้อสอบความสามารถด้านเหตุผล
5 แนวข้อสอบความหมายของการบริหาร
6 แนวข้อสอบงานพัสดุและงานสารบรรณ
7 แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชุด 1
8 แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ชุด 2
9 การบริหารจัดการภายในสำนักงาน
10 การบริหารจัดการองค์กร
11 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
MP3 - เทคนิคการสิบสัมภาษณ์







ความรู้ทั่วไป

สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ (อังกฤษ: Central Institute of Forensic Science; ย่อ: CIFS) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม มีบทบาทหน้าที่ในด้านนิติวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นการตรวจพิสูจน์หลักฐานด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์เพื่อประกอบการดำเนินคดี รวมถึงการกำกับมาตรฐานการปฏิบัติงานให้อยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน

ประวัติ
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 มีฐานะเทียบเท่ากรมของกระทรวงยุติธรรม เริ่มให้บริการนิติเวชบริการเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2545
การจัดตั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 75 ที่บัญญัติให้รัฐดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล จัดระบบงานของกระบวนการยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพและอำนวยความยุติธรรมแก่ประชาชนได้อย่างรวดเร็วและเท่าเทียมกัน ขณะเดียวกันต้องสนองตอบนโยบายของรัฐบาลด้วย โดยคณะรัฐมนตรีได้แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2544 ด้านการพัฒนากระบวนการยุติธรรมและการปฏิรูปกฎหมาย เรื่อง เร่งรัดการจัดโครงสร้างกระทรวงยุติธรรมให้มีบทบาทและหน้าที่ครอบคลุมกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพ ทำให้มีการจัดตั้งสถาบันแห่งนี้ขึ้น

แนวคิดของการจัดตั้ง
งานด้านนิติวิทยาศาสตร์มีความสำคัญอย่างยิ่งในกระบวนการยุติธรรมที่ต้องมีการนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ หากมีระบบการตรวจเก็บหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพน่าเชื่อถือ จะทำให้กระบวนการยุติธรรมมีประสิทธิภาพ ผู้กระทำผิดก็จะถูกลงโทษตามกฎหมาย สังคมจะมีความสงบเรียบร้อยขึ้น เนื่องจากปัจจุบันคดีอาชญากรรมต่าง ๆ ทวีความรุนแรงขึ้น การรับฟังพยานบุคคลไม่อาจทำให้นำคนผิดมาลงโทษได้เต็มที่ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์จะมีหลักการและมีความถูกต้องน่าเชื่อถือมากกว่าพยานบุคคล
แต่ที่ผ่านมา งานบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะกลุ่มคนด้อยโอกาส งานบางงานในกรุงเทพมหานคร ประชาชนยังได้รับการบริการไม่ทั่วถึงทุกคดี และไม่สามารถให้บริการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ประกอบกับงานบริการด้านนิติวิทยาศาสตร์กระจัดกระจายอยู่ในหลายหน่วยงานเช่นสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทบวงมหาวิทยาลัย กระทรวงสาธารณสุข สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม โดยเฉพาะในอดีตที่ผ่านมายังไม่มีหน่วยงานใดทำหน้าที่ประสานงานโดยตรงและกำหนดมาตรฐานกลางที่จะทำให้เกิดความน่าเชื่อถือของงานด้านนิติวิทยาศาสตร์
ดังนั้น การจัดตั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตร์จึงช่วยให้งานนิติวิทยาศาสตร์ของไทยมีประสิทธิภาพเข้าสู่ความเป็นมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนโดยรวม
หลักการดำเนินงานของสถาบันนิติวิทยาศาสตร์[แก้]
ระบบการตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์เป็นระบบที่ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ เฉพาะทาง โดยเฉพาะเป็นองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ สถาบันหลักที่ทำงานด้านนี้จึงควรเป็นสถาบันที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้มีความเป็นกลาง มีความโปร่งใส มีการตรวจสอบได้ ซึ่งสอดคล้องกับการปฏิรูประบบราชการ
การตรวจทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ควรมีหน่วยงานกลางเป็นหน่วยประสานเรื่องการดำเนินการ รวมทั้งงบประมาณให้กับหน่วยงานด้านต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนหรือผู้เสียหายสามารถเข้าถึงการบริการ อีกทั้งจะเป็นแรงจูงใจสำหรับการปฏิบัติงาน เนื่องจากบุคลากรทางด้านนี้จะได้รับการสนับสนุนโดยตรงจากภาครัฐผ่านทางกระทรวงยุติธรรม ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานได้ดี
ควรมีการกำหนดมาตรฐานกลางของการดำเนินงานการตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ทุกสาขา และมีการควบคุมดูแลให้มีการดำเนินงานตามมาตรฐานโดยการขึ้นทะเบียนสถานประกอบการและบุคลากรที่ปฏบัติงานด้านนี้ ทั้งนี้ประชาชนจะเชื่อมั่นศรัทธาในงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ และจะทำให้กระบวนการยุติธรรมเข้าสู่มาตรฐานสากลได้มากยิ่งขึ้น
การกำหนดนโยบาย การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานกลาง การตรวจสอบ รวมถึงด้านจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน ควรให้มีคณะกรรมการระดับชาติ ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนจากส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการยุติธรรมเป็นผู้ สนับสนุนแต่งตั้งแต่ในระยะเวลา 3 ถึง 5 ปี ควรผลักดันให้เป็นคณะกรรมการอิสระเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูง
กำหนดให้สถาบันใหม่นี้ ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย อีกทั้งเป็นที่พึ่งเวลาประชาชนมีปัญหาข้อร้องเรียน ซึ่งในปัจจุบันไม่มีหน่วยงานกลางใดยอมดำเนินการให้
โครงสร้างการบริการ การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีความถูกต้อง รวดเร็ว และมีความโปร่งใส
มีการปลูกฝังจริยธรรมในการปฏิบัติงาน

ภารกิจหลัก
พัฒนาระบบการตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ให้มีมาตรฐาน
สถาบันจะทำหน้าที่ขึ้นทะเบียนบุคลากรที่ทำงานด้านนี้ในระดับต่างๆ จากทุกหน่วยงาน ที่ให้การบริการงานนิติวิทยาศาสตร์และดำเนินการให้มีการจ่ายค่าตอบแทนแก่บุคลาการ โดยคณะกรรมการจะทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานกลางในการตรวจพิสูจน์หลักฐานต่างๆ ซึ่ง ประชาชนสามารถเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมได้ดีขึ้น
ประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ ให้การบริการทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อให้มีการบริการอย่างทั่วถึง
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์จะทำหน้าที่ เพื่อประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่ให้บริการงานด้านนิติวิทยาศาสตร์ ในการจัดสรรอัตรากำลัง เครื่องมือ และงบประมาณในการดำเนินการเพื่อให้งานด้านการตรวจพิสูจน์ ได้รับการพัฒนาและสนับสนุน อันเป็นประโยชน์ต่อประชาชนและผู้เสียหายในคดีต่างๆ

การให้บริการตามกฎกระทรวง
ส่วนของนิติเวชบริการของสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ได้เริ่มให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2545 โดยเริ่มทำการชันสูตรในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา และนครนายก ในการชันสูตรศพทางสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ได้ใช้สถานที่ห้องตรวจศพของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เป็นการชั่วคราว ส่วนห้องปฏิบัติการอื่นๆ อยู่ที่ตึกอาคารสุขประพฤติ ถนนเลียบคลองประปา ประชาชื่น กทม.
นอกจากนี้ยังมีภารกิจรับเรื่องราวร้องทุกข์ ในการตรวจทางนิติวิทยาศาสตร์ทุกๆ สาขาซึ่งขณะนี้ทางสถาบันเปิดให้การบริการตรวจพิสูจน์เอกสารและการปลอมแปลง เช่น การตรวจพิสูจน์ลายมือเขียน ลายมือชื่อ ลายพิมพ์นิ้วมือในเอกสารต่างๆ ให้กับศาลทั่วประเทศ หน่วยงานในสังกัดของกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนที่ร้องขอ เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชน อันจะทำให้เกิด ความโปร่งใสและมีการตรวจสอบได้

ภารกิจอื่น
นอกเหนือจากภารกิจดังกล่าวมาข้างต้น ทางสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ยังมีหน้าที่ร่วมสนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรทางด้านนิติวิทยาศาสตร์ ซึ่งขณะนี้ได้เริ่มประสานให้คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดหลักสูตรนิติวิทยาศาสตร์ ในระดับปริญญาโท ร่วมกับมหาวิทยาลัยสตราทไคลด์ของอังกฤษ ซึ่งเป็นหลักสูตรชั้นนำของโลก ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพมานานแล้ว ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยอีกหลายแห่งก็กำลังเริ่มพัฒนาหลักสูตรทางด้านนี้ เช่น คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

หน่วยงานในสังกัด
แบ่งส่วนราชการออกเป็น 2 สำนัก 2 กอง คือ
สำนักงานเลขานุการกรม
กองตรวจพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์
สำนักมาตรฐานนิติวิทยาศาสตร์
กองนิติวิทยาศาสตร์บริการ

ข้อมูลจาก : สถาบันนิติวิทยาศาสตร์วิกิพีเดีย

แนะนำการสอบ

คำแนะนำในการสอบสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ( Central Institute of Forensic Science; ย่อ: CIFS) เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม มีบทบาทหน้าที่ในด้านนิติวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นการตรวจพิสูจน์หลักฐานด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์เพื่อประกอบการดำเนินคดี รวมถึงการกำกับมาตรฐานการปฏิบัติงานให้อยู่ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน
ในการสอบเข้าสถาบันนิติ ไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค  ก ของ ก.พ.  การสอบเข้าสถาบันนิติวิทยาศาสตร์  จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่  2  ครั้ง   คือ  ครั้งที่  1  โดยการสอบข้อเขียน   ครั้งที่  2  โดยการสัมภาษณ์  และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่  2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์  ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม  ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก  ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้  ฝึกทำข้อสอบเก่า  โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง  ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่  แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด  ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน  และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี   นอกจากนี้ควรศึกษาเส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ  เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย  เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์  พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ  โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต  และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ   ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน   ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที   แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย  การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน  ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม  สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม  พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด  อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง  โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ 1. ให้แนะนำตัวเอง   2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ   3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน

วิชาที่ใช้สอบเป็นลูกจ้าง/พนักงานราชการ  มีดังนี้คือ
การประเมินครั้งที่  1  โดยวิธีสอบข้อเขียน   (100  คะแนน)
- ความรู้ทั่วไป   ได้แก่   กฏหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง
- ความรู้เฉพาะตำแหน่งตามลักษณะของงาน
การประเมินครั้งที่  2 โดยการสอบสัมภาษณ์  (100  คะแนน)
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และจรรยาบรรณ

วิชาที่ใช้สอบเป็นข้าราชการ   มีดังนี้คือ
1. ความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง  ( 50  คะแนน )
2. การสอบสัมภาษณ์   ( 100  คะแนน )  เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา  ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
ทั้งนี้ กําหนดให้ผู้สมัครสอบ ต้องสอบความรู้ความสามารถเฉพาะตําแหน่งก่อนผ่านก่อน โดยมีคะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  60  จึงจะมีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตําแหน่ง

รายละเอียดวิชาที่สอบ
นักจัดการงานทั่วไป สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนิติวิทยาศาสตร์
2 ความรู้เกี่ยวกับงานสารบรรณและธุรการทั่วไป
3 การจัดการตามหลักการจัดการทั่วไป
4 ความรู้เกี่ยวกับการเขียนหนังสือหนังสือราชการและโต้ตอบเอกสาร
5 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
6 สรุปสาระสำคัญระเบียบงานสารบรรณ (สูตรและเทคนิคการจำ)
7 แนวข้อสอบกฎหมายระเบียบงานสารบรรณ
8 แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป
9 การเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์

ตำแหน่งที่สอบ
สอบเข้าเรียนนิติวิทยาศาสตร์
นักจัดการงานทั่วไป
นักทรัพยากรบุคคล
นักนิติวิทยาศาสตร์
นักวิเทศสัมพันธ์